หน้าเว็บ

วันศุกร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

กิจกรรม 31 ม.ค. - 4 ก.พ. 2554


ตอบ2 เพราะว่า น้ำมันเหม็นหืน และทำให้เกิดความหนืด เนื่องจากมีสาร "โพลีเมอร์" เกิดขึ้น ... อุณหภูมิของน้ำมัน และขนาดชิ้นอาหารที่นำลงทอดล้วนมีผลทำให้เกิดการอมน้ำมันมากน้อย แตกต่างกัน
ส่วนประกอบที่สำคัญของน้ำโซดาและอัดลม คือน้ำและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ผสมกันในอัตราส่วนที่เหมาะสมภายใต้ความกดดันสูง จะเป็นน้ำโซดา หากผสมน้ำตาลที่ละลายเป็นน้ำรวมกับเชื้อน้ำหอมที่มกลิ่นและสีต่าง ๆ จะเป็นน้ำอัดลม เช่น สีแดงเป็นกลิ่นสละ และกลิ่นกุหลาบ สีใสเป็นกลิ่นโซดา มะนาว สีดำรสซาซี สีเหลืองรสสับปะรดขวดที่บรรจุในระยะเริ่มแรก เป็นขวดมีลูกแก้วปิดแทนฝาจีบ ความดันของน้ำอัดลมจะดันลูกแก้วขึ้นติดกับยางที่ปากขวด น้ำอัดลมจะคงความซ่าอยู่ต่อไปจนกว่าจะกดลูกแก้วลง ความดันภายในขวดจะลดลง ลูกแก้วจะตกไปค้างอยู่ที่คอขวด ทางโรงงานจะนำขวดไปบรรจุน้ำอัดลมใหม่ ลูกแก้วจะถูกลมดันไปติดที่ปากขวดดังเดิม โรงงานจึงใช้ขวดหมุนเวียนไป แต่การทำความสะอาดขวดในลักษณะที่มีลูกแก้วเช่นนี้ ไม่สะดวกในการทำความสะอาด โรงงานบ่านอยู่หลองจึงเลิกใช้ขวดแบบลูกแก้ว
เอ ทธิลีน (C2H4, H2C = CH2) เป็นฮอร์โมนพืชตัวเดียวที่อยู่ในรูปแก๊ส เอทธิลีนเป็นฮอร์โมนที่พืชสร้างขึ้น เพื่อใช้ควบคุมการเจริญเติบโตและพัฒนาต่างๆ เช่นการออกดอก การสุกของผล พบในธรรมชาติ และในควันไฟประวัติการค้นพบCousins(1910) เป็นคนแรกที่เสนอว่าผลไม้มีการปลดปล่อยแก๊สซึ่งกระตุ้นการสุก เขาพบว่าส้มที่เก็บไว้ร่วมกับกล้วยจะสุกก่อนเวลา (premature)Gane (1934) ชาวอังกฤษได้พิสูจน์ให้เห็นว่า พืชสามารถสร้างเอทธิลีนได้ และเอทธิลีนทำหน้าที่เร่งกระบวนการสุกCrocker et al. (1935) เสนอว่าเอทธิลีนเป็นฮอร์โมนที่ทำให้ผลไม้สุก และทำหน้าที่เป็นสารควบคุมการเจริญเติบโตในต้นพืชด้วยการสังเคราะห์เอทธิลี นเอทธิลีนเป็นแก๊สที่ไม่มีสี มีกลิ่นหอมเล็กน้อย ติดไฟได้ง่าย เอทธิลีนถูกสร้างขึ้นในพืชและในสิ่งมีชีวิตหลายชนิด สารต้นกำเนิดของเอทธิลีนในพืชคือ กรดอะมิโน เมทไธโอนีน โดยมีเอนไซม์ peroxidase เป็นตัวเร่งปฎิกริยา และมี flavin mononucleotide และ ion ของโลหะเป็น co-factor
ตอบ2 เพราะว่าปฏิกิริยาดูดความร้อน (endothermic reaction) เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นแล้ว ระบบจะดูดพลังงานจากสิ่งแวดล้อมทำให้อุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมเย็นลง สัมผัสจะรู้สึกเย็น สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องใช้พลังงาน (Energy) ในการทำกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การหายใจ การเจริญเติบโต การเคลื่อนไหว การขับถ่าย การลำเลียงสาร พลังงานส่วนใหญ่ที่สิ่งมีชีวิตได้จากการสลายสารอาหารด้วยกระบวนการทางเคมี และพลังงานที่ได้เป็นพลังงานเคมี ซึ่งพลังงานเคมีจะเกิดขึ้นได้จะต้องมาจากปฏิกิริยาเคมี
ตอบ4 เพราะว่าฝนกรดจะทำปฏิกิริยาเคมีกับวัตถุใด ๆ ที่มันสัมผัส กรดคือสารเคมีใด ๆ ที่ทำปฏิกิริยากับสารอื่น ๆ โดยจะจ่ายอะตอมไฮโดรเจน (hydrogen: H) ออกไป ความเป็นกรดของสารใด ๆ เกิดจากการที่มีอะตอมไฮโดรเจนอิสระมากมายเกิดขึ้นจากการละลายสารนั้น ๆ ในน้ำ การวัดค่าสารที่เป็นกรดเราใช้มาตรา pH เป็นหน่วยในการวัด โดยจะมีค่าเป็นไปได้ตั้งแต่ 0 ถึง 14 การที่สารใด ๆ นั้นจะเป็นกรดได้ นั้นหมายถึงสารนั้น ๆ จะต้องมีค่า pH ตั้งแต่ 1 ถึง 6 โดยค่ายิ่งน้อยเท่าไหร่ หมายถึงยิ่งเป็นกรดแก่มากเท่านั้น ในทางกลับกัน สารที่มีค่า pH ตั้งแต่ 8 ถึง 14 เราจะเรียกว่าเบส (bases หรือ alkalis) โดยสารเหล่านี้จะทำการรับอะตอมไฮโดรเจนแทน น้ำบริสุทธิ์มีค่า pH เป็น 7 กล่าวคือไม่ได้เป็นกรด และเป็นเบส เราเรียกสารแบบนี้ว่า สารที่เป็นกลาง โดยทั่วไปแล้วถ้าฝน หิมะ หรือหมอกที่มีค่า pH น้อยกว่า 5.6 เราจะถือว่าฝน หิมะ หรือหมอกเหล่านี้เป็นพิษ เมื่อใดก็ตามที่กรดรวมตัวกับเบส เบสจะทำให้ความเป็นกรดลดน้อยลงมาได้ ซึ่งฝนในบรรยากาศปกติจะมีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน ๆ อยู่แล้ว มักจะทำปฏิกิริยากับเบสอื่น ๆ ในธรรมชาติทำให้เกิดสมดุลขึ้น แต่เมื่อใดก็ตามที่ปริมาณกรดในบรรยากาศเพิ่มขึ้น จึงทำให้สมดุลตเสียหายไป จึงทำให้เกิดความเสียหายต่าง ๆ กับสภาพแวดล้อมมากมาย ตั้งแต่ดิน น้ำ สัตว์ต่าง ๆ ถึงสิ่งก่อสร้างของมนุษย์เอง
ตอบ1 เพราะว่า
กรด นอกจากจะสามารถทำปฏิกิริยาสะเทินกับเบสได้เกลือกับน้ำ แล้วยังสามารถทำปฏิกิริยากับโลหะบางชนิด เช่น Zn, Fe, ได้ก๊าซ H 2 และเกลือของโลหะนั้น หรือทำปฏิกิริยากับเกลือคาร์บอนเนต เช่น CaCO 3 , Na 2CO 3 หรือเกลือ NaHCO 3 ได้ก๊าซ CO 2 ตัวอย่างปฏิกิริยาระหว่าง HCl กับ CaCO 3 จะได้เกลือและก๊าซ CO 2 HCl(aq) + CaCO 3 (s) ---------> CaCl 2 (aq) + CO 2 (g)
เบสก็เช่นเดียวกันนอกจากจะทำปฏิกิริยาสะเทินกับกรดได้เกลือกับน้ำแล้ว ยังสามารถทำปฏิกิริยากับเกลือแอมโมเนียมเช่น NH 4Cl, (NH 4) 2SO 4 , จะได้ก๊าซ NH 3 หรือทำปฏิกิริยากับเกลือ เช่นปฏิกิริยาระหว่าง NaOH กับ FeCl 3 ได้สารผลิตภัณฑ์ดังนี้
3NaOH (aq) + FeCl 3 (aq) ---------> Fe(OH) 2 (s) + 3NaCl (aq)
ดังนั้น จะเห็นได้ว่ากรดและเบสทำปฏิกิริยากันเองได้ และทั้งกรดและเบสก็สามารถทำปฏิกิริยากับสาอื่น
ตอบ2 เพราะว่าไอโซโทป (Isotope) หมายถึงอะตอมของธาตุชนิดเดียวกันที่มีโปรตอนเท่ากัน(หรืออิเล็กตรอนเท่ากัน )แต่มีเลขมวลและจำนวนนิวตรอนต่างกัน(หรือมีมวลต่างกัน)อะตอมของธาตุชนิด เดียวกันจะมีจำนวนโปรตอนและอิเล็กตรอนเท่ากัน แต่จำนวนนิวตรอนอาจจะไม่เท่ากันก็ได้ ซึ่งมีผลทำให้มวลต่างกันอะตอมของธาตุดังกล่าวเรียกว่าเป็นไอโซโทป เช่น 12C,13C และ 14C เป็นไอโซโทปกัน (เลขอะตอม C = 6 ) สัญลักษณ์นิวเคลียร์จำนวนอิเล็กตรอนจำนวนโปรตอนจำนวนนิวตรอนไอโซโทปของธาตุ บางชนิดอาจจะมีชื่อเรียกโดยเฉพาะ เช่น ธาตุไฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป และมีชื่อเฉพาะดังนี้
11H เรียกว่า โปรเตรียม ใช้สัญลักษณ์ H
21H เรียกว่า ดิวทีเรียม ใช้สัญลักษณ์ D
31H เรียกว่า ตริเตรียม ใช้สัญลักษณ์ T
ตอบ4 เพราะว่า วาเลนซ์อิเล็กตรอน (อังกฤษ:valance electrons) ในทาง วิชาเคมี คือ อิเล็กตรอน ที่อยู่ในวงโคจรของ อิเล็กตรอน ชั้นนอกสุดของอะตอม อิเล็กตรอน เหล่านี้จะมีส่วนร่วมใน ปฏิกิริยาเคมี ด้วย ธาตุที่มีอิเล็กตรอน ชั้นนอกสุดเต็มมักจะไม่ไวต่อปฏิกิริยา ส่วนธาตุที่มี อิเล็กตรอน ชั้นนอกสุเกือบเต็มหรือเกือบว่างเช่นโลหะอะคาไล และ ฮาโลเจน จะมีความไวต่อปฏิกิริยา
ตอบ3 เพราะว่าเรา สามารถตรวจสอบความเป็นกรด-เบสของสารละลายได้ด้วยอินดิเคเตอร์ ซึ่งเป็นสารทีใช้บอกสมบัติบางอย่างในปฏิกิริยาเคมี โดยการเปลี่ยนสีหรือการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางอย่างที่มองเห็ได้ สารที่นำมาใช้ในการตรวจสอบความเป็นกรด-เบสของสารละลายต่างๆ เรียกว่า " อินดิเคเตอรสำหรับกรด-เบส (acid-base indicator)"
อินดิเคเตอร์ (indicator) คือ สารที่ใช้ตรวจสอบไฮโดรเนียมไอออน (H3O) และไฮดรอกไซด์ไอออน (OH) ได้ เนื่องจากสารละลายที่เป็นกรดจะมีความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนมากกว่าสารละ ลายทเป็นเบสกรดเป็นสารประกอบไฮโดรเจน เมื่อละลายอยู่ในน้ำจะแตกตัวให้ไฮโดรเนียมไอออน
เบสเป็นไฮดรอกไซด์ของโลหะหรืออนุมูลที่มีค่าเทียบเท่าโลหะ ซึ่งเมื่อละลายอยู่ในน้ำจะแตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน
อินดิเคเตอร์แต่ละชนิดจะมีการตรวจสอบความเป็นกรด-เบสของสารละลายแตกต่างกัน อินดิเคเตอร์ที่นิยมใช้กันมากมี 2 ประเภท คือ กระดาษลิตมัสและยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์
ตอบ4 เพระ จาก ลักษณะการสร้างพันธะไอออนิกซึ่งมีแรงยึดเหนี่ยวต่อเนื่องกันเป็นผลึก และลักษณอะตอมของธาตุที่มีประจุเป็นไอออนบวกและไอออนลบรวมกันอยู่ ส่งผลให้สารประกอบไอออกมสมบัติต่าง ๆ ดังนี้
1. สารประกอบไอออนิกจะมีจุดหลอมเหวและจุดเดือดที่สูง เนื่องจากพันธะไอออนิกเกิดจากแรงยึดเหนี่ยวของประจุไฟฟ้าซึ่งมีความแข็งแรง สูง ยากต่อการทำให้แยกออกจากกัน อีกทั้งยังมีลักษณะการยึดเหนี่ยวที่ต่อเนื่องกันผลึก การที่จะทำให้สารประกอบไอออนิกเปลี่ยนสถานะจึงต้องอาศัยพลังงานจำนวนมากใน การทำลายแรงยึดเหนี่ยว ดังนั้นสารประกอบไอออนิกจึงมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดที่สูงกว่าสารประกอบโค เวเลนต์
2. สมบัติที่สำคัญอีกประการของสารประกอบไอออนิก คือ เมื่อเป็นของแข็งจะไม่นำไฟฟ้า แต่จะนำไฟฟ้าได้ดีเมื่ออยู่ในสถานะของเหลวหรือเมื่ออยุ่ในสภาพของสารละลาย เนื่องจากในสถานะของแข็งไอออนต่าง ๆ ซึ่งมีประจุไฟฟ้าจะถูกยึดเหนี่ยวกันอย่างเหนียวแน่น แต่เมื่อนำไปหลอมเหลวหรืไลลน้ำ โครงผลึกจะหลุดออกเสียสภาพไปทำให้ไอออนสามารถเคลื่อนที่ไปมาได้ สารประกอบไอออนิกจึสามารถนำไฟฟ้าได้
สารประกอบโคเวเลนต์ มีสมบัติดังนี้
1. มีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส เช่น
- สถานะของเหลว เช่น น้ำ เอทานอล เฮกเซน
- สถานะของแข็ง เช่น น้ำตาลทราย (C12H22O11), แนพทาลีนหรือลูกเหม็น (C10H8)
- สถานะแก๊ส เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2), แก๊สมีเทน (CH4), แก๊สโพรเพน (C3H8)
2. มีจุดหลอมเหลวต่ำ หลอมเหลวง่าย
3. มีทั้งละลายน้ำและไม่ละลายน้ำ เช่น เอทานอลละลายน้ำ แต่เฮกเซนไม่ละลายน้ำ
4. สารประกอบโคเวเลนต์ไม่นำไฟฟ้า เนื่องจากอยู่เป็นโมเลกุล และโมเลกุลเป็นกลาง เมื่อละลายน้ำจะไม่นำไฟฟ้า แสดงว่า
อยู่เป็นโมเลกุลไม่แตกตัวเป็นไอออน

ตอบ 0.3g/min
ตอบ 5วัน
ตอบ 50วินาที

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น